DSpace
 

DSpace at Nakhon Si Thammarat Rajabhat University >
หอสมุดกลาง >
วิจัย >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/2141

Title: ตัวแบบอนุกรมเวลาในการพยากรณ์การเกิดโรคไข้เลือดออก จังหวัดนครศรีธรรมราช : รายงานวิจัย = Time series model in forecasting dengue haemorrhagic fever disease in Nakhon Si Thammarat
Authors: ศุภวรรณ พรหมเพรา
Keywords: ไข้เลือดออก -- นครศรีธรรมราช -- วิจัย
Issue Date: 31-Aug-2016
Abstract: การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดตัวแบบอนุกรมเวลาที่เหมาะสมในการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในจังหวัดนครศรีธรรมราช การวิเคราะห์อนุกรมเวลาตัวแปรเดียวถูกใช้ในการสร้างตัวแบบและพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี พ.ศ. 2558 ของจังหวัดนครศรีธรรมราชตัวแบบอารีมาถูกพัฒนาขึ้นโดยข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกตั้งแต่เดือนมกราคม 2555 ถึงธันวาคม 2557 และตรวจสอบความเหมาะสมของตัวด้วยข้อมูลสัปดาห์ที่ 1-9 ของเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 เทคนิควิธีการวิเคราะห์แบบบอกซ์-เจนกินส์สำหรับตัวแบบอ่รีมาถูกใช้เพื่อนสร้างตัวแบบ ซึ่งกระบวนการที่ประกอบด้วยการระบุตัวแบบเบื้อนต้น การตรวจสอบความเหมาะสมของตัวแบบและการตรวจสอบตัวแบบด้วยข้อมูลอนุกรมเวลา แล้วทำการพยากรณ์ด้วยตัวแบบที่พัฒนาขึ้นพบว่า ตัวแบบ ARIA(2,0,0) หรือ AR(2) เป็นตัวแบบอนุกรมเวลาที่เหมาะสมกับข้อมูลผู้ป่วยราบสัปดาห์ของจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยโค้งของการพยากรณ์แนบชิดกับข้อมูลที่ทำการตรวจสอบ. This study aimed to identify time series models for forecasting the Dengue Haemorrhagic Fever (DHF) patients in Nakhon Si Thammarat. A univariate time seriesanalysis method has been used to model and forecast the weekly Dengue Hamorrhagic Feve (DHF) in Nakhon Si Thammarat. Autorgressive integrated moving average (ARIMA) models were developed on the DHF patients’ data from January 2012 to December 2014 and then validated the models using the data collected between January-February 2015 (week 1-9 ) The Box-jenkins Methodology for ARIMA Models were used to develop the model. It refered to a set of Procedurss for identifying, Fitting sng checking ARIMA models with time seres data. Forecasts follow directly from the form of fitted model. The results showed that ARIMA(2,0,0) =AR(2) was Fitted well for weekly DHF patients data The regressive forecast cuves wereconsistent with the pattern of actual values.
URI: http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/2141
Appears in Collections:วิจัย

Files in This Item:

File Description SizeFormat
Fulltext.pdf957.72 kBAdobe PDFView/Open
Abstract.pdf162.8 kBAdobe PDFView/Open

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback