DSpace
 

DSpace at Nakhon Si Thammarat Rajabhat University >
หอสมุดกลาง >
วิจัย >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/1871

Title: รายงานการวิจัยการวิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก ระยะที่ 2 : กรณีศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช /คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Authors: อภิณห์พร สถิตย์ภาคีกุล, มลิวัลย์ สมศักดิ์
อารี สาริปา, ปรีชา สามัคคี
กุสุมา ใจสบาย, ธารหทัย มาลาเวช
Keywords: ครู -- วิจัย
ผู้บริหารโรงเรียน -- วิจัย
Issue Date: 1-Nov-2013
Abstract: ชื่องานวิจัย โครงภารวิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาแบบใช้ โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนขนาศเล็ก ระยะที่2: กรณีศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช ระยะเวลา มีนาคม-ธันวาคม 2555 คณะนักวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราซภัฏนครศรีธรรมราช. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิณห์พร สถิตย์ภาคีกุล, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มลิวัลย์ สมศักดิ์, อาจารย์ ดร.อารี สาริปา อาจารบย์ ดร.ปรีชา สามัคคี อาจารย์กุสุมาใจสบาย และอาจารย์ ธารหทัย มาลาเวช ผู้บริหาร ศรู โรงเรียนบ้านทุ่งขน โรงเรียนวัดสโมสร โรงเรียนบ้านทุ่งขันหมาก โรงเรียนบ้านอินทนิน โรงเรียนบ้านน้ำข้าว และศึกษานิเทศภ์ สำนักงานเขดพื้นที่ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 งบประมาณ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศีกษาบริบทและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาคูร และผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็กในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2) ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับ การพัฒนครูและผู้บริหารสถานศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง 3) วิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาแบบใช้โรงเรียน เป็นฐานใน โรงเรียนขนาดเล็กในจังหวัดนครศรีธรรมราช 4 ) ทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาครูและผู้บริหาร สถานศึกษาฉบับใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนขนาดเล็กในจังหวัดนครศรีธรรมราข 5) เพื่อ ประเมินผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานใน โรงเรยนขนาดเล็กในจังหวัดนครศรีธรรมราช เละ 6) เพื่อถอดบทเรึยนการทดลองใช้รูปแบบการ พัฒนาครูและผู้บริหารสถานศ็กษาแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนขนาคเล็กในจังหวัด นครศรีธรรมราช กลุ่มเป่าหมาย เป็นโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราข เขต 4 จำนวน 5 โรง ได้แก่ 1) โรงเรียนบ้านทุ่งชน 2) โรงเรียนบ้านอินทนิน 3) โรงเรียนบ้านน้ำขาว 4 ) โรงเร็ยนบ้านทุ่งขันหมาก และ 5) โรงเรียนวัดสโมสร กระบวนการวิจัย ประกอบด้วบ 1) ขั้นเตรียมการวิจัย 2) ขั้นพัฒนาและตรวจสอบรูปแบบ 3) ขั้นปรับปรุงรูปแบบ 4) ขั้นการทดลองใช้รูปแบบ และ 5)ขั้นการสรุปผลการใข้รูปแบบ เครื่องมือการวิจัย ไดัแก่ 1) แบบสอบถามบริบทและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาของ โรงเรียน 2) แบบตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษา 3) แบบประเมินความรู้ ทักษะ และเจตคติต่่อประเด็นและกิจกรรมการพัฒนาตามรูปของผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง 6.2.5 การจัดสรรเวลาของนักวิจัยในโครงการและโรงเรียนยังไม่สามารถดำเนินการ ได้ตามแผน เนื่องจากภาระงานประจำและความรับผิดชอบในพันฐกิจแตกต่างกัน 6.3 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาคุณภาพการศีกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก 6.3.1 จัดระบบและกลไกในการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาด เล็กเป็นการเฉพาะ สามารถจัดการเรียนการสอน บริหารจัดการและสนับ การจัดการเรียนการสอน ที่ส่งผลถึงคุณภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.3.2 พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการปฏิบิตงานของครู และผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก 6.3.3 จัดระบบเสริมสร้างขวัญกำลังใจและความก้าวหน้าในวิชาชีพครูและ บุคลากรทางสถานศึกษาของโรงเรียนขนาตเล็ก ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 การกำหนดรูปแบบการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนขนาดเล็ก ควรทำการการศึกษา แนวคิดทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับบริบทสภาพจริงของโรงเรียน เพื่อกำหนภจุดเน้นในการ พัฒนา และสร้างการยอมรับในการพัฒนา จะทำให้ได้รูปแบบที่มีความถูกต้องเชิงทฤษฎี ละความ เหมาะสมเป็นไปในทางปฏิบัต 1.2 โรงเรียนแต่ละโรงควรทำการทบทวนบริบทของโรงเรียนโดยการมีสวนร่วมจากทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และผู้ทรงคุณวุฒิในพื้นที่เพื่อปรับปรุงไห้มความเหมาะสมกับสภาพจริง ของโรงเรียนมากที่สุด 1.3 โรงเรียนควรกำกับติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามขั้นตอนและ แผนปฏิบัติการ ของรูปแบบอย่างใกล้ชิดเพื่ให้การดำเนินการพัฒนาครูตามตามรูปแบบบรรลุตามเป้าหมาย 1.4 โรงเรียนควรจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในโรงเรียนและมีแผนการนิเทศ อย่างเป็นระบบ เพื่อให้ครูเกิดความมั่นใจในการดำเนินงานมากขึ้น 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 การวิจัยครั้งนี้มีข้อจำกัดด้านระยะเวลาของทีมวิจัยและความพร้อมในการพัฒนาของ แต่ละโรงเรียนต่างกัน การวิจัยครั้งต่อไปควรกำหนดพื้นที่วิจัยทีมีความพร้อมสูงเพียงหนึ่งโรงเรียน เพื่อ เป็นโรงเรีบนต้นแบบในการพัฒนารูปแบบและขยายผลไปสู่การพัฒนารูปแบบของโรงเรียนอื่น ๆ 2.2 การวิจัยครั้งนี้เป็นการพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่เน้นการ พัฒนาทักษะการคิดของนักเรียนโดยใช้โครงงานเหมีอนกันทั้งห้าโรงเรียน การวิจัยครั้งต่อไปควรวิจัย และพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาโดยกำหนดจุดเน้นการพัฒนาที่ต่างกัน หรือ กรรมการสถานศึกษาและชุมชน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการพัฒนาในประเด็นที่เป็น เป้าหมาย 5) แบบสอบถามความคิดเห็น ต่อการเข้าร่วมโครงการในภาพรวม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การ วิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ ค่าที (t-tes) ผลการวิจย พบว่า 1. ผลการศึกษาบริบทและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาใน โรงเรียนขนาดเล็ก พบว่า โรงเรียนทั้ง 5โรงมีความแตกต่างกันด้านข้อมูลพื้นฐานทัวไป คะแนนทักษะ การคิด แต่มีสิ่งที่คล้ายคลึงกันคือ ชุมชนแวดล้อมให้ความสำคัญต่อการศึกษา ให้ความร่วมมือและ ต้องการโห้โรงเรียนคงอยู่ต่อไป ส่วนครูและผู้บริหารมีความต้องการในประเด็นการพัฒนาแตกต่างกัน ส่วนวิธีการพัฒนาแตกต่างกัน 2. ผลการศึกษาสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาสามารถ สังเคราะห์ใด้ 3 ประเด็น คือ 1) การฝึกอบรมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 2) การพัฒนาครูและผู้บริหาร สถานศีกษาในโรงเรียนขนาตเล็ก และ 3) แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบ 3. ผลการวิจัยและพัฒนารุปแบบการพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศืกษแบบใช้โรงเรียนเป็น ฐาน พบว่าโรงเรียนมีรูปแบบการพัฒนาเป็นของตนเอง มีความสอดคล้องกับปัจจัยภายนอกและปัจจัย ภายใน และ มีคุฌภาพด้านอี่น ๆ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ส่วนโหญ่เน้นการพัฒนาทักษะการคิดโดย ใช้โครงงาน และการบูรณาการ ICTในการจัดการเรียนรู้ จำนวน 1 โรง 4. การทดลองใข้รุปแบบ พบว่า โรงเรียนทุกโรงได้ทบทวนแผนดำเนินงานและจัดกิจกรรม ตามแผน มีทั้งกิจกรรมการพัฒนาครู การนิเทศติดตาม และสนับสนุนทรัพยากร ระดับโครงการมีการ สนับสนุนวิทยากร เอกสาร และทรัพยากร การพัฒนาครูและผู้บริหาร การนิเทศติดตาม และจัด กิจกรรมแลกเปลี่ยนเริยนรู้ 5. ความสำเร็จของการนำรูปแบบไปใช้ พบว่า ครูและผุ้บริหารมีความเห็นว่ารูปแบบที่ พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสม สามารถใช้ได้ เกิตผลต่อครูและผู้เกี่ยวข้องตามจุดมั่งหมาย ครูและผู้บริหาร มีความรู้ความสามารถ ทักษะ และเจตคติต่อประเด็นที่ได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้นสูงกว่าก่อนพัฒนา นักเริยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีความสามารถด้านการคิด มีส่วนร่วมและสนใจด้านการเรียนมาก ขี้น คณะ ผู้บริหาร และนักเรียนมีชิ้นงานจากการพัฒนาการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ 6. ผลการถอดบทเรียนจากการดำเนินโครงการ พบว่า ครูและผู้บริหารมีความเห็นว่าการเข้า ร่วมโครงการเป็นสิ่งที่ด็มีประโยชน์ต่อโรงเรียน แต่จะมีปัญหาเรื่องภาระงาน เวลา และความรู้ความ เข้าใจโนประเด็นที่พัฒนาอย่างชัดเจน ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาชุมชนมีสวนร่วมในการ จัดการเรียนการสอนมากขี้นและให้การสนับสนุการเรียนของนักเรียนมากขึ้น บทเรียนจากการ ดำเนินงานของโครงการนำไปสู่ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพี่อการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ให้กับหน่วยงานต้นสังกัดทั้งระดับประเทศ เขตพื้นทิ่ และโรงเรียน
URI: http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/1871
Appears in Collections:วิจัย

Files in This Item:

File Description SizeFormat
Title.pdf620.73 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf314.2 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf946.19 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf428.69 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdf317.47 kBAdobe PDFView/Open
Reference.pdf219.06 kBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback