DSpace
 

DSpace at Nakhon Si Thammarat Rajabhat University >
หอสมุดกลาง >
วิจัย >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/1866

Title: โครงการการมีส่วนร่วมของชุมชนในการศึกษาสังคมพืชและปลาพื้นที่พรุควนเคร็ง =Community Participation in the Studies of Plant and Fishes at Kuan Kreng Peat Lands. : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
Authors: สุภาพร สุทิน, สุจารี แก้วคง
Keywords: ปลา -- การอนุรักษ์
การอนุรักษ์พืช
Issue Date: 1-Nov-2013
Abstract: การวิจัยเรื่องการการมีส่วนร่วมของชุมชนในการศึกษาสังคมพืชแลัวปลาในพื้นที่พรุควน เคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2554 ถึงเดือนมีนาคม 2555มีวัดถุประสงค์ เพึ่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสังคมพืชและปลา ที่พบบริเวณพรุควนเคร็งโดยชุมชนมีสวนร่วมใน กระบวนการเรียน ดำเนินการศึกษาสังคมพืช และปลาตามแนวทางของชุมชน และการเรียนรู้ของ ชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองบนฐานทรัพยากร โดยใช้การวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีผู้ร่วมวิจัย 4 ฝ่ายประกอบด้วย ครู นักื้ี รยน นักศึกษา อาจารย์ เละชุมชนในพื้นที่พรุควนเคร็ง ตำบลเคร็ง อำเภอชะอาดจังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการวิจัยพบวา พื้นที่พรุควนเคร็งในอดีตมีระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติที่ สมบูรณ์จึงมีผู้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันระบบนิเวศเสื่อมโทรมเกิดไฟไหม้ บ่อยครั้งกระทบต่อวิถีการดารงชีวิดทางสังคมพืชและปลา เกิดภาวะ น้ำเปรี้ยว ดินเปรี้ยว สังคมพืช และปลาหายไป พบสังคมพืชชนิดเด่นบริเวณริมฝั่งเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก หรือไม้พุ่ม บริเวณ พื้นน้ำเปิดโล่งพบพืชลอยน้ำ ส่วนพืชน้ำตามริมฝั่งที่พบ ให้แก่ หญ้าหนวดปลาดุก ผักขาเขียด บัวบก หญ้ากาบหอย และพืชน้ำที่ขึ้นปะปนอยู่กับหมู่ไม้อื่นๆ ได้แก่แพงพวย ย่านลิเพา ลำเท็ง โคลงเคลง ปรง และ กลุ่มผักกูด กลางน้ำมีบัวน้ำ บัวสาย และ แพงพวยน้ำ จอกหูหนู บริเวณ ป่าพรุที่เสื่อมโทรมที่ถูกรบกวนทำลายหรือถูกไฟไหม้ซ้ำซากจะพบกลุ่ม สังคมพืชอีกกลุ่มหนึ่ง ครอบครองคือ สังคมไม้เสม็ดขาว ขึ้นปกคลุมอย่างหนาแน่น ซึ่งในบริเวณนี้จะไม่มีโอกาสฟื้นคืน สภาพเป็นป่าพรุดั้งเดิมได้อีกต่อไป ส่วนในบริเวณป่าพรุที่ไม่ถูกรบกวนมาก พบสังคมมะฮัง หลุมพี และสาคูขึ้นอยู่ พบปลาชนิดที่อยู่ในสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (vulnerable) ได้แก่ ปลาดุกลำพัน (clarias nieuhofil) ปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (cyprinidae) พบประมาณ 1 1 ชนืด พบปลาที่อาศัยในแหล่งนัำทื่เป็นพรุ ประมาณ 18 ชนิด สาเหตุของการสญพันธุ์ เนื่องมาจากธรรมซาติเปลี่ยนแปลง ไฟไหม้บ่อยครั้งทรัพยากรปลามีจำกัดเมื่อเทียบกับประชากร การขาดการเชื่อมโยงระหว่างการศึกษากับประชาชน และความยากจน เป็นต้น
URI: http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/1866
Appears in Collections:วิจัย

Files in This Item:

File Description SizeFormat
Fulltext.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback