DSpace at Nakhon Si Thammarat Rajabhat University >
หอสมุดกลาง >
วิจัย >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/1626
|
Title: | การศึกษาความรู้และความเข้าใจในการใช้ระบบการค้นคืนสารสนเทศออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช |
Authors: | ธิดา แซ่ซั้น |
Keywords: | การค้นข้อสนเทศ -- วิจัย |
Issue Date: | 9-Jan-2013 |
Abstract: | การวิจัยเรื่องการศึกษาความรู้และความเข้าใจในการใช้ ระบบการค้นคืนสารสนเทศ
ออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์ศึกษาความรู้ความ
เข้าใจในการใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศออนไลน์ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราช
ภัฏนครศรีธรรมราช ในด้านวัตถุประสงค์ เขตข้อมูล และกลยุทธ์การค้นคืนสารสนเทศ และศึกษา
ปัญหาในการใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศออนไลน์ โดยใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูลจาก
นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2554 จำนวน
1 ,010 คน ได้รับแบบสอบถามคืนมา 1,010 คน คิดเป็นร้อยละ 100 การวิเคราะห์ข้อมูลให้สถิติค่า
ร้อยละ ค่านฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
นักศึกษาส่วนใหญ่มีการใช้รายการทรัพยากรสารสนนทศออนไลน์ที่ห้องสมุดให้บริการ
จากการรับรู้ผ่านอาจารย์ผู้สอน มีวัตถุประสงค์การใช้เพื่อทำรายงาน โดยนรียนรู้วิธีการสืบค้นด้วย
ตนเองนเละเข้าถึงผ่านโฮมเพจของห้องสมุด มีการใช้ห้องสมุดเป็นสถานที่ในการสืบค้น สัปดาหละ
2 - 3 ครั้งต่อสัปดาห์ นักศึกษาส่วนใหญ่เคยสืบค้นแบบขั้นสูง มีการให้เขตข้อมูลชื่อเรื่องหรือชื่อ
หนังสือ ใช้เวลา 15 - 30 นาที ผลลัพธ์ที่ได้เป็นผลการสืบค้นขั้นต้น
นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่เคยใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ ส่วนนักศึกษาที่มีการใข้ฐานข้อมูล
ออนไลน์นั้นอยู่ในระดับปานกลาง ในขณะที่ฐานข้อมูล ABI /lnform FulI Text - ด้านบริหารธุรกิจ
ด้านนศรษฐกิจ มีการให้มากที่สุด จาการรับรู้ผ่านอาจารย์ผู้สอน มีวัตถุประสงค์การใช้เพื่อทำ
รายงาน โดยเรียนูรึวธีการสืบค้นด้วยตนเองนเละเข้าถึงผ่านโฮมเพจของห้องสมุด มีการใข้ห้องสมุด
เป็นสถานที่ในการสืบค้น ใช้สัปดาห์ละ 2 - 3 ครั้งต่อสัปดาห์ นักศึกษาส่วนใหญ่เคยสืบค้นแบบขั้น
สูง มีการให้เขตข้อมูลขื่อนรืเองหรือซื้อหนังสือ ใช้เวลา 15 - 30 นาที ผลลัพธ์ที่ได้เป็นเอกลารฉบับ
เต็ม (Fu,I Text)
นักศึกษาส่วนใหญ่พบปัญหาในการใช้รายการทรัพยากรสารสเทศออนไลน์ (oPAC) อยู่
ในระดับปานกลางทุกปัญหา ที่พบมากที่สุด คือ ปัญหาด้านผลการสืบค้น (คเาเฉลี่ย 3.14)
รองลงมาคือ ปัญหาด้านความเข้าใจวิธีการใช้ OPAC (ค่าเฉลี่ย 3.13) และปัญหาด้านผู้ให้บริการ
(ค่าเฉลี่ย 3.12) ตามลำดับ
นักศึกษาพบปัญหาการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์อยูในระดับปานกลางทุกปัญหาที่พบมาก
ที่สุด คือ ปัญหาด้านเครือข่ายและคอมพิวเตอร์ (ค่าเฉลี่ย 3.23) รองลงมาคือ ปัญหาด้าน
ผู้ใช้บริการ (ค่าเฉลี่ย 3.22) ปัญหาด้านผู้ให้บริการ (ค่าเฉลี่ย 3.21) และปัญหาด้านฐานข้อมูล
(ค่าเฉลี่ย 3.20) ตามลำดับ |
URI: | http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/1626 |
Appears in Collections: | วิจัย
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|