DSpace
 

DSpace at Nakhon Si Thammarat Rajabhat University >
หอสมุดกลาง >
วิจัย >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/1624

Title: ความรู้และความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการ"จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้" จังหวัดนครศรีธรรมราช
Authors: ดำรงศ์พันธ์ ใจห้าว, มัณฑกา วีระพงศ์
จิรายุทธ ณ นคร, ดิเรก สีแก้ว
Keywords: นิคมอุตสาหกรรม -- วิจัย
ท่าเรืออุตสาหกรรม -- วิจัย
Issue Date: 9-Jan-2013
Abstract: การศึกษาวิจัย รัฐนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาความถี่ของการรับรู้ข้อมูลโครงการ "จัดตั้งนิ ค ม อุต สาห กรรม และ ท่าเรื ออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคไต้ ” ของประชาชนไนพื้นที่จังหวัตนครศรีธรรมราช จากแหล่งต่าง ๆ (2) เพื่อศึกษาระดับความรู้ข้อมูล โครงการ "จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม เเละท่าเรืออุตสาหกรรมไนบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้” ของประชาชนไนพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช และ (3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มี ต่อโครงการ "จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม และท่าเรืออุตสาหกรรมไนบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคไต้” จังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ไนการศึกษาวิจัย คือประชาชนในเขตอำเภอสิชล จังหวัดนค รศรีธรรมราช และในเขตอำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ไนการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ (percent) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard Deviation) ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ประเด็นข้อมูลแวดล้อม 9 ด้าน 1. ประชาชน ส่วน ใหญ่ มี กา ร ติ ดต ามข้ อ มู ล ข่ าวสารเกี่ ยว กับโค ร ง ก า ร “จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม และท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ ” จังหวัดนครศรีธรรมราช นานๆ ครั้งและ นานๆ มากต่อครั้ง โดยภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (นาน ๆ ครั้ง) 2. ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการ“จัตตั้งนิคมอุตสาหกรรม และ ท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้” จังหวัดนครศรีธรรมราช จากวิทยุ่โทรทัศน์ รองลงมา คือ จากเพื่อน / บุคคลที่รู้จักแนะนำ จากผู้นำชุมชนท้องถิ่น และจากอินเคอร์เน็ต /เอ็นจีโอ /นักวิชาการ ตามลำดับ 3. ประชาชนส่วนใหญ่มีระดับความถึ่ใน การ รั รับรู้ข้อมูลข่าวสาร โครงการ “จัคตั้งนิคมอุตสาหกรรม และท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ ” จังหวัดนครศรีธรรมราช ในระดับนาน ๆ ครั้ง รองลงมา คือ นาน ๆ มากต่อครั้ง โดยภาพรวม เฉลี่ยอยู่ในระดับ (นาน ๆ ครั้ง) 4. ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลข่าวสารโครงการ "จัคคั้งนิคมอุตสาหกรรม และ ท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้” จังหวัดคนครศรีธรรมราช จากเจ้าหน้าที่ โครงการฯ นาน ๆ มากคือครั้ง และ ไม่เคยได้รับเลย โดยภาพรวมเฉลึ่ยอยู่ไนระดับ (นาน ๆ มากต่อครั้ง) 5. ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลข่าวสารโครงการ “จัคตั้งนิคมอุตสาหกรรม และ ท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้” จังหวัดนครศรีธรรมราช จากเจ้าหน้าที่ ปกครองท้องถิ่น นาน ๆ มากต่อครั้ง รองลงมา นานๆ ครั้ง ไม่เคยได้รับเลย และบ่อยครั้ง ตามลำดับ โคยภาพรวมเฉลี่ยอยู่ไนระดับ (นาน ๆ มากต่อครั้ง) 6. ประชาชนส่วนใหญู่ได้รับข้อมูลข่าวสารโครงการ “จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม และ ท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้” จังหวัดนครศรีธรรมราช จากผู้นำชุมชน นาน ๆ ครั้ง รองลงมานานๆ มากต่อครั้ง ได้รับเลย ตามลำดับ โดยภาพรวม เฉลี่ยอยู่ใน ระดับ (นาน ๆ ครั้ง) 7. ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับข้อมูลข่าวสารโครงการ จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม และ ท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้” จังหวัดนครศรีธรรมราช จากองค์กรพัฒนา เอกชน / นาน ๆ ครั้ง รองลงมา คือ นาน ๆ มากต่อครั้ง และไม่เคยได้รับเลย ตามลำดับ โดยภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (นาน ๆ ครั้ง) 8. ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับข้อมูลข่าวสารโครงการ “จัคตั้งนิคมอุตสาหกรรม และ ท่าเรื ออุตสาหกรรมในบ ริ เว ณ พื้น ที่ชา ยฝังทะเลภาคใต้ ” จังห วัคนครศรีธรรมราช จากกลุ่มนักวิชาการเลย รองลงมาระบุว่า นาน ๆ มากต่อครั้ง และนาน ๆ ครั้ง ตามลำดับ โคยภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (ไม่เคยได้รับเลย) 9. ประชาชนส่วนใหญ่มีระดับความรู้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ “จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม และท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้” จังหวัดคนครศรึธรรมราช น้อยที่สุด รองลงมาคือระดับน้อย ไม่มีเลย และมีระดับความรู้มาก/พอสมควร มีแค่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (น้อยที่สุด) ประเด็นความคิดเห็น 12 ประเด็น 1. ประชาชนส่วนใหญ่มีระดับความคิดเฉย ๆ กับกรณีการจัดตั้งนิคม อุตสาหกรรมและ ท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณเ พื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช กระจายความเจริญ ได้เป็นอย่างดี รองลงมาไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย และเห็นด้วยอย่างยิ่ง ตามลำดับ ภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (ไม่เห็นด้วย) 2. ประชาชนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเฉย ๆ ต่อกรณีการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม และ ท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้” จังหวัดนครศรีธรรมราช ทำให้เกิด การพัฒนาอำเภอของท่านได้อย่างดี รองลงมาไม่เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วยอย่างยิ่ง และไม่เห็นด้วย อย่างยิ่ง ตามลำดับภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (เฉย ๆ) 3. ประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยมีอีกหลายวิธีที่ สามารถสร้าง ความเจริญให้กับชุมชนท้องถิ่นได้ดีกว่าการตั้งนิคมอุตสากรรม และท่าเรืออุตสาหกรรม รองลงมา คือ เฉย ๆ เห็นด้วยอย่างยิ่ง และไม่เห็นค้วย ตามลำดับ โดยภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (เห็นด้วย) 4. ประชาชนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเฉย ๆ ต่อกรณีการตั้งนิคมอุตสาหกรรม และ ท่าเรืออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช ช่วยกระจายรายได้ ให้กับชุมชนของท่านได้ รองลงมา คีอ ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย และเห็นด้วยอย่างยิ่ง ตามลำดับ ภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (เฉย ๆ) 5. ประชาชนส่วนใหญู่ มีความคิดเห็นเฉย ๆ ต่อกรณีการตั้งนิคมอุตสาหกรรม และ ท่าเรีออุตสาหกรรมในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทำให้ชุมชน มีราย่ได้เพิ่มขึ้น รองลงมา คือเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และเห็นด้วยอย่างยิ่ง ตามลำดับ โคยภาพรวม เฉลียอยู่ในระดับ (เฉย ๆ) 6. ประชาชนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเฉย ๆ ต่อกรณีการตั้งนิคมอุตสาหกรรม และ ท่าเรีออุตสาหกรรม ในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทำให้เกิดอาชีพ เสริม แก่ชุมชนขึ้น รองลงมา คือเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และเห็นด้วยอย่างยิ่ง ตามลำดับ ภาพรวมเฉลี่ย อยู่ในระดับ เฉย ๆ) 7. ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยต่อกรณีการมีงานทำในโรงงานอุตสาหกรรมทำให้มี รายได้มั่นคงกว่าการทำเกษตรกรรม รองลงมาเฉย ๆ เห็นด้วย และเห็นด้วยอย่างยิ่ง ตามลำดับ ภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (เฉย ๆ) 8. ประชาชนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเฉย ๆ ต่อกรณีหากมีการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม ท่าเรีออุตสาหกรรมโกดังสินค้าขนาดใหญู่ ใกล้บ้านเรือนของท่าน จะให้ความร่วมมือเป็นอย่างด็ รองลงมา คือ ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง และเห็นด้วยอย่างยิ่งตามลำดับ ภาพรวม เฉลี่ยอยู่ในระดับ ประดับความคิดเห็น เฉย ๆ) 9. ประชาชนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเฉย ๆ ต่อกรณีหากมีโอกาสท่านจะส่งเสริมสมาชิกใน ครอบครัวของท่านให้ทำงานในโรงงานี้ และท่าเรืออุตสาหกรรม รองลงมา คือ ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย และ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วยอย่างยิ่งตามลำดับ ภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ ( เฉย ๆ) 10. ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยต่อกรณี จังหวัดนครศรีธรรมราช เหมาะสมแก่การตั้ง นิคมอุตสาหกรรม และท่าเรืออุดสาหกรรม รองลงมา คือ เฉย ๆ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย และ เห็นด้วยอย่างยิ่ง ตามลำดับ ภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (ไม่เห็นด้วย) 1 1. ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยต่อกรณี อยากให้รัฐบาลเนิน การจัดดั้ง นิคมอุตสาหกรรม และท่ารืออุตสาหกรรมในอำเภอของท่านมาก ๆ รองลงมา คือเฉย ไม่เห็นด้วย อย่างยิง เห็นด้วย และเห็นด้วยอย่างยิ่ง ตามลำดับ ภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (ไม่เห็นด้วย) 12. ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยด่อกรณีความรู้สึกภูมิใจที่จะมีนิคมอุดสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรม และท่าเรืออุตสาหกรรม ในอำเภอของตัวเอง รองลงมา คีอเฉย ๆ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง และไม่เห็นด้วย ดามลำดับ ภาพรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับ (ไม่เห็นด้วย) สำหรับข้อเสนอแนะสรุปได้เป็น 2 ประ เด็น หลัก ๆ ดังนี้ 1. ประเด็นการพัฒนาจังหวัดนครศรีธรรมราช ประชาชนส่วนใหญ่ระบุว่า อยากให้มีการพัฒนาจังหวัดนครศรีธรรมราช ในหลายประเด็น แต่หากที่จะด้องมีการพัฒนาอุดสาหกรรม อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นี้ต้องคำนึงถึง ผลประโยชน์ของประชาชนเป็นอันดับแรก โดยการมีส่วนรู้ ร่วมทุกกระบวนการตั้งแต่ต้นจนจบ ต้องคำนึงถึงระบบความสมดุลระหว่างทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต และ พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรรมที่ยั่งยืน คำนึงถึงคุณภาพชีวิตของประชาชนรุ่นปัจจุบัน ตลอดถึงเยาวชนคนรุ่นหลัง 2. ประเด็นที่ เห็นควรพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ประชาชนส่วนใหญ่ระบุว่า ควรพัฒนาด้านที่ดินทำกิน ที่อยู่อาศัยให้เป็น ปัจจัยพื้นฐานในการผลิตของประชาชนอย่างทั่วถึง และเท่าเทียม เพิ่มทักษะการประกอบอาชีพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเกษตรกรรม และการประมง ควรมีการพัฒนาสนับสนุนให้มีการเรียนรู้ และ ประกอบอาชีพเสริม เพื่อสร้างรายได้ให้กับประชาชนอย่างยั่งยืน สนับสนุนให้มีการ จัดตั้ง กลุ่มชุมชน เพื่อสร้างเสริมสวัสดิการชุมชน และรวมกลุ่มเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันการเข้ามาของกลุ่มคน / องค์กร ภายนอก ควรพัฒนา / สร้างเสริม /ฟั้นฟูด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมระบบนิเวศน์ ชุมชนท้องถิ่น เพื่อหลักประกันของระบบคุณภาพชีวิต พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ทั้งในด้านแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยว เชิงประวัดิศาสดร์ แหล่งท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
URI: http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/handle/123456789/1624
Appears in Collections:วิจัย

Files in This Item:

File Description SizeFormat
Title.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf956.78 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open
Chapter6.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Appendix.pdf842.2 kBAdobe PDFView/Open
Reference.pdf450.79 kBAdobe PDFView/Open
Biography.pdf336.02 kBAdobe PDFView/Open

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback